พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
รูปหล่อ หลวงพ่อ...
รูปหล่อ หลวงพ่อเดิม วัดหนองหลวง
รูปหล่อ หลวงพ่อเดิม วัดหนองหลวง (พิเศษ...บรรจุตะกรุด)
รูปหล่อโบราณหลวงพ่อเดิม วัดหนองหลวง รูปหล่อรุ่นนี้กล่าวกันว่า เป็นรูปหล่อรุ่นแรกของท่าน แต่ประวัติการสร้างไม่มีการบันทึกบอกกล่าวได้แต่คำบอกเล่าของนักนิยมสะสมพระรุ่นครูว่าเทหล่อที่วัดหนองหลวงเมื่อคราวบูรณะปฏิสังขรณ์วัดหนองหลวง อ. ท่าตะโก จ. นครสวรรค์
ในราว พ.ศ. ๒๔๗๐-๒๔๘๐ รูปหล่อนี้เทหล่อด้วยเนื้อทองผสมวรรณะ(เนื้อใน) เหลืองปนขาวเล็กน้อย เป็นพระเทหล่อโบราณแม่พิมพ์ประกบเทเป็นช่อตัดชนวนใต้ฐานคือนายช่างจะทำแม่พิมพ์ทั้งด้านหน้าและด้านหลังเมื่อได้แม่พิมพ์แล้วจะทำการถอดหุ่นเทียนแล้วจึงเข้ากรรมวิธีเข้าช่อทาน้ำขี้วัว เข้าดิน และเมื่อถึงเวลาเทหล่อจะต้องสุ่มหุ่นและรอฤกษ์เท ในการทำแม่พิมพ์นี้นายช่างได้ทำแม่พิมพ์ขึ้นด้วยกัน ๒ แบบพิมพ์คือ
๑. พิมพ์ฐานเตี้ย
๒. พิมพ์ฐานสูง
ข้อมูลและรายละเอียด
๑.รูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ย ลักษณะใบหน้าหลวงพ่อคล้ายผลมะตูม รายละเอียดทุกส่วนคมชัด
ส่วนบริเวณสังฆาฏิจะมีเส้นจมคาดกลางในบางองค์จะเห็นช่างแต่งตะไบเส้นนี้ ใต้คำหลวงพ่อเดิมจะไม่มีเนื้อยื่นต่อลงจึงเป็นที่มาของพิมพ์ฐานเตี้ย(แต่มีบางองค์อาจมีเนื้อยื่นลงมาเล็กน้อยแต่ให้แยกพิมพ์ที่ใบหน้าจะชัดเจน) ใต้ฐานส่วนใหญ่เรียบไม่ค่อยพบว่ามีการลงเหล็กจารในบางองค์นายช่างจะทำการเจาะอุดเม็ดกริ่งซึ่งส่วนนี้จะพบเห็นน้อยมากส่วนมากรูปหล่อฐานเตี้ยนี้ถ้าอยู่ในสภาพเดิมส่วนมากจะเห็นผิวเงินคลุมทั่วองค์พระแต่ในบางองค์ตามซอกจะเห็นคราบดำซึ่งก็คือน้ำยารมดำนั่นเอง(พระเนื้อทองเหลืองส่วนใหญ่น้ำยารมดำจะรมไม่ติดจะเหลืออยู่แค่ตามซอกลึกเท่านั้น) รูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ยนี้จะไม่ค่อยปรากฏว่าช่างแต่งตะเข็บข้างและใต้ฐานส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีการลงเหล็กจาร
๑. ลักษณะใบหน้าหลวงพ่อคล้ายผลมะตูม
๒. บริเวณสังฆาฏิจะมีเส้นจมคาดกลางในบางองค์จะเห็นช่างแต่งตะไบเส้นนี้
๓. ใต้คำหลวงพ่อเดิมจะไม่มีเนื้อยื่นต่อลงจึงเป็นที่มาของพิมพ์ฐานเตี้ย (แต่มีบางองค์อาจมีเนื้อยื่นลงมาเล็กน้อย แต่ให้แยกพิมพ์ที่ใบหน้าจะชัดเจน)
๒.รูปหล่อพิมพ์ฐานสูง พิมพ์นี้การสร้างเช่นเดียวกับรูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ยทุกประการแตกต่างกันที่แม่พิมพ์ฐานสูงนี้ ใบหน้าหลวงพ่อจะเรียวเล็กเป็นรูปไข่ตลอดจนองค์พระจะแลดูชะลูดกว่าพิมพ์ฐานเตี้ย บริเวณฐานคำว่าหลวงพ่อเดิม ตัว “อ”จะคล้าย”จ”และจะมีเนื้อยื่นต่อลงมาใต้คำว่าหลวงพ่อเดิม จึงเป็นที่มาของชื่อพิมพ์ ด้านข้างของรูปหล่อพิมพ์ฐานสูงนี้ส่วนใหญ่จะมีรอยแต่งตะเข็บด้านข้างให้เป็นริ้วจีวรและบริเวณตะโพกด้านหลังติดฐานก็มีการแต่งเช่นเดียวกัน (มีส่วนน้อยที่ไม่มีการแต่ง) และการแต่งริ้วตะเข็บข้างนี้ก็มีทั้งชนิดแต่งในขณะที่เป็นหุ่นเทียนถ้าแต่งในลักษณะนี้เมื่อพิจารณาด้วยกล้องจะไม่มีความคมของเครื่องมือแต่จะปรากฏคราบเบ้าคลุมนี่เป็นจุดพิจารณาจุดหนึ่ง แต่ถ้าเป็นชนิดที่แต่งเมื่อเทหล่อแล้วเสร็จจะเห็นเป็นรอยแต่ง(นักนิยมสะสมพระมักเรียกว่ารอยแทงตะไบแต่รอยที่เห็นนี้มิใช่เป็นรอยตะไบแต่เป็นเครื่องมือช่างอีกแบบเรียกว่าเหล็กแทงทอง)ตะเข็บและริ้วจีวรตะโพกใต้ฐานช่างจะแต่งตะไบเรียบส่วนใหญ่มักจะปรากฏเหล็กจาร “พุฒซ้อน” หรือที่เรียกว่า “พระเจ้าอมโลก”ไว้ ยังไม่เคยพบว่าพิมพ์ฐานสูงมีการเจาะบรรจุเม็ดกริ่งเหมือนพิมพ์ฐานเตี้ยบางองค์
นอกจากนี้รูปหล่อพิมพ์ฐานสูงยังจำแนกผิวออกเป็น ๓ ชนิดอีกคือ
๑. ชนิดผิวพรายเงิน ชนิดนี้ผิวองค์พระปรากฏเป็นผิวพรายเงินคลุม ชนิดนี้ค่านิยมสูงที่สุด
๒. ชนิดผิวน้ำทอง ชนิดนี้ไม่ปรากฏมีพรายเงินคลุมแต่จะมีคราบน้ำทอง(สีเหลืองเหลือบทอง คล้ายผิวพระพุทธชินราชรุ่นอินโดจีน)ชนิดนี้ค่านิยมจะเป็นรองผิวพรายเงิน
๓. ชนิดผิวรมดำ ชนิดนี้ผิวองค์พระจะปรากฏน้ำยารมดำคลุมและผิวพระส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเรียบตึงจะเห็นเป็นรอยย่นซึ่งรอยเหล่านี้เกิดจากการที่ช่างนำพระที่เทหล่อเสร็จแล้วไปผ่านกระบวนการกัดน้ำยาเพื่อรมดำ(อย่างที่กล่าวข้างต้นน้ำยารมดำจะไม่จับผิวพระเนื้อทองเหลือง) รูปหล่อชนิดนี้ค่านิยมจะถูกกว่า ๒ ชนิดข้างต้นและวรรณะ(เนื้อ)จะเหลืองปนเขียวแต่ถ้าเป็น ๒ แบบข้างต้นเนื้อจะเหลืองปนขาวกว่า ชนิดผิวรมดำ ชนิดนี้ผิวองค์พระจะปรากฏน้ำยารมดำคลุมและผิวพระส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเรียบตึงจะเห็นเป็นรอยย่นซึ่งรอยเหล่านี้เกิดจากการที่ช่างนำพระที่เทหล่อเสร็จแล้วไปผ่านกระบวนการกัดน้ำยาเพื่อรมดำ(อย่างที่กล่าวข้างต้นน้ำยารมดำจะไม่จับผิวพระเนื้อทองเหลือง) รูปหล่อชนิดนี้ค่านิยมจะถูกกว่า ๒ ชนิดข้างต้น
สรุปรูปหล่อหลวงพ่อเดิมวัดหนองหลวงจุดพิจารณาให้ยึดพิมพ์ให้แม่น จำวิธีการสร้างคือดูพระหล่อ-พระปั๊ม-พระฉีดให้แยกได้ เข้าใจธรรมชาติคือความเก่าความซีดความแห้งของพระตลอดจนรายละเอียดปลีกย่อยเช่นรอยเหล็กจาร การแต่งตะไบให้ได้ จะประสพความสำเร็จ ส่วนจำนวนการสร้างทั้งสองแบบพิมพ์ไม่มีการบันทึกไว้ว่าสร้างเท่าไหร่เพียงแต่คาดเดาว่าทั้งสองแบบพิมพ์ไม่น่าเกิน ๒-๓พันองค์ ประการหนึ่งแบบพิมพ์ฐานเตี้ยชนิดที่ผ่านการรมน้ำยาดำผิวพระจะมีความตึงไม่เหมือนพระพิมพ์ฐานสูงชนิดรมดำที่ผิวพระส่วนใหญ่จะไม่เรียบตึง เพราะพิมพ์ฐานเตี้ยไม่ผ่านการกัดน้ำยา และส่วนตัวของผู้เขียนเองก็มีความเชื่อโน้มเอียงว่า รูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ยน่าจะสร้างก่อนพิมพ์ฐานสูงเพราะงานหล่อความสวยงามตลอดจนความเรียบร้อยสู้พิมพ์ฐานสูงไม่ได้และจำนวนการสร้างเมื่อเทียบเคียงพบเห็นน้อยกว่าพิมพ์ฐานสูงมากและนี่คือข้อมูลที่ผู้เขียนศึกษาค้นคว้านำเสนอ และถ้าท่านสมาชิกมีข้อมูลอื่นใดที่ชี้แนะติชม ผู้เขียนก็ยินดีรับไว้เพื่อประเทืองปัญญา
ขอบคุณที่มา / เครดิต... www.facebook.com/jtaweesub
ผู้เข้าชม
33269 ครั้ง
ราคา
091 0657798
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
naput
ชื่อร้าน
ตรีนิสิงห์ พระเครื่อง
ร้านค้า
trinising.99wat.com
โทรศัพท์
0889747991
ไอดีไลน์
0889747991
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 376-2-27954-0
2. ธนาคารกสิกรไทย / 037-3-86656-3
พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ
พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ให
พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์ปรกโพธ
พระกำแพงซุ้มกอ กำแพงเพชร กรุวั
หลวงพ่อเงินวัดบางคลานพิมพ์ข
ซุ้มปรางค์ เนื้อดิน
หลวงพ่อเงิน รุ่นปืนแตก วัดคงคา
เหรียญมหายันต์ พ่อปู่ฤาษีบรมคร
รูปหล่อหลวงพ่อเงินวัดบางค
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Lovaza
ponsrithong2
พีพีพระเครื่อง
สยามพระเครื่องไทย
greenpizza
Tury
ว.ศิลป์สยาม
Oatbeaut
NongBoss
Joker Tanakron
กู่ทอง
ยิ้มสยาม573
someman
Yayoi
wach2514
เพ็ญจันทร์
นานา
Le29Amulet
สุข อุดร
vanglanna
Achi
ep8600
hopperman
boonyakiat
maximum9
fuchoo18
TotoTato
หริด์ เก้าแสน
ภูมิ IR
สมเกียรติ23
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1081 คน
เพิ่มข้อมูล
รูปหล่อ หลวงพ่อเดิม วัดหนองหลวง
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
รูปหล่อ หลวงพ่อเดิม วัดหนองหลวง
รายละเอียด
รูปหล่อ หลวงพ่อเดิม วัดหนองหลวง (พิเศษ...บรรจุตะกรุด)
รูปหล่อโบราณหลวงพ่อเดิม วัดหนองหลวง รูปหล่อรุ่นนี้กล่าวกันว่า เป็นรูปหล่อรุ่นแรกของท่าน แต่ประวัติการสร้างไม่มีการบันทึกบอกกล่าวได้แต่คำบอกเล่าของนักนิยมสะสมพระรุ่นครูว่าเทหล่อที่วัดหนองหลวงเมื่อคราวบูรณะปฏิสังขรณ์วัดหนองหลวง อ. ท่าตะโก จ. นครสวรรค์
ในราว พ.ศ. ๒๔๗๐-๒๔๘๐ รูปหล่อนี้เทหล่อด้วยเนื้อทองผสมวรรณะ(เนื้อใน) เหลืองปนขาวเล็กน้อย เป็นพระเทหล่อโบราณแม่พิมพ์ประกบเทเป็นช่อตัดชนวนใต้ฐานคือนายช่างจะทำแม่พิมพ์ทั้งด้านหน้าและด้านหลังเมื่อได้แม่พิมพ์แล้วจะทำการถอดหุ่นเทียนแล้วจึงเข้ากรรมวิธีเข้าช่อทาน้ำขี้วัว เข้าดิน และเมื่อถึงเวลาเทหล่อจะต้องสุ่มหุ่นและรอฤกษ์เท ในการทำแม่พิมพ์นี้นายช่างได้ทำแม่พิมพ์ขึ้นด้วยกัน ๒ แบบพิมพ์คือ
๑. พิมพ์ฐานเตี้ย
๒. พิมพ์ฐานสูง
ข้อมูลและรายละเอียด
๑.รูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ย ลักษณะใบหน้าหลวงพ่อคล้ายผลมะตูม รายละเอียดทุกส่วนคมชัด
ส่วนบริเวณสังฆาฏิจะมีเส้นจมคาดกลางในบางองค์จะเห็นช่างแต่งตะไบเส้นนี้ ใต้คำหลวงพ่อเดิมจะไม่มีเนื้อยื่นต่อลงจึงเป็นที่มาของพิมพ์ฐานเตี้ย(แต่มีบางองค์อาจมีเนื้อยื่นลงมาเล็กน้อยแต่ให้แยกพิมพ์ที่ใบหน้าจะชัดเจน) ใต้ฐานส่วนใหญ่เรียบไม่ค่อยพบว่ามีการลงเหล็กจารในบางองค์นายช่างจะทำการเจาะอุดเม็ดกริ่งซึ่งส่วนนี้จะพบเห็นน้อยมากส่วนมากรูปหล่อฐานเตี้ยนี้ถ้าอยู่ในสภาพเดิมส่วนมากจะเห็นผิวเงินคลุมทั่วองค์พระแต่ในบางองค์ตามซอกจะเห็นคราบดำซึ่งก็คือน้ำยารมดำนั่นเอง(พระเนื้อทองเหลืองส่วนใหญ่น้ำยารมดำจะรมไม่ติดจะเหลืออยู่แค่ตามซอกลึกเท่านั้น) รูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ยนี้จะไม่ค่อยปรากฏว่าช่างแต่งตะเข็บข้างและใต้ฐานส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีการลงเหล็กจาร
๑. ลักษณะใบหน้าหลวงพ่อคล้ายผลมะตูม
๒. บริเวณสังฆาฏิจะมีเส้นจมคาดกลางในบางองค์จะเห็นช่างแต่งตะไบเส้นนี้
๓. ใต้คำหลวงพ่อเดิมจะไม่มีเนื้อยื่นต่อลงจึงเป็นที่มาของพิมพ์ฐานเตี้ย (แต่มีบางองค์อาจมีเนื้อยื่นลงมาเล็กน้อย แต่ให้แยกพิมพ์ที่ใบหน้าจะชัดเจน)
๒.รูปหล่อพิมพ์ฐานสูง พิมพ์นี้การสร้างเช่นเดียวกับรูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ยทุกประการแตกต่างกันที่แม่พิมพ์ฐานสูงนี้ ใบหน้าหลวงพ่อจะเรียวเล็กเป็นรูปไข่ตลอดจนองค์พระจะแลดูชะลูดกว่าพิมพ์ฐานเตี้ย บริเวณฐานคำว่าหลวงพ่อเดิม ตัว “อ”จะคล้าย”จ”และจะมีเนื้อยื่นต่อลงมาใต้คำว่าหลวงพ่อเดิม จึงเป็นที่มาของชื่อพิมพ์ ด้านข้างของรูปหล่อพิมพ์ฐานสูงนี้ส่วนใหญ่จะมีรอยแต่งตะเข็บด้านข้างให้เป็นริ้วจีวรและบริเวณตะโพกด้านหลังติดฐานก็มีการแต่งเช่นเดียวกัน (มีส่วนน้อยที่ไม่มีการแต่ง) และการแต่งริ้วตะเข็บข้างนี้ก็มีทั้งชนิดแต่งในขณะที่เป็นหุ่นเทียนถ้าแต่งในลักษณะนี้เมื่อพิจารณาด้วยกล้องจะไม่มีความคมของเครื่องมือแต่จะปรากฏคราบเบ้าคลุมนี่เป็นจุดพิจารณาจุดหนึ่ง แต่ถ้าเป็นชนิดที่แต่งเมื่อเทหล่อแล้วเสร็จจะเห็นเป็นรอยแต่ง(นักนิยมสะสมพระมักเรียกว่ารอยแทงตะไบแต่รอยที่เห็นนี้มิใช่เป็นรอยตะไบแต่เป็นเครื่องมือช่างอีกแบบเรียกว่าเหล็กแทงทอง)ตะเข็บและริ้วจีวรตะโพกใต้ฐานช่างจะแต่งตะไบเรียบส่วนใหญ่มักจะปรากฏเหล็กจาร “พุฒซ้อน” หรือที่เรียกว่า “พระเจ้าอมโลก”ไว้ ยังไม่เคยพบว่าพิมพ์ฐานสูงมีการเจาะบรรจุเม็ดกริ่งเหมือนพิมพ์ฐานเตี้ยบางองค์
นอกจากนี้รูปหล่อพิมพ์ฐานสูงยังจำแนกผิวออกเป็น ๓ ชนิดอีกคือ
๑. ชนิดผิวพรายเงิน ชนิดนี้ผิวองค์พระปรากฏเป็นผิวพรายเงินคลุม ชนิดนี้ค่านิยมสูงที่สุด
๒. ชนิดผิวน้ำทอง ชนิดนี้ไม่ปรากฏมีพรายเงินคลุมแต่จะมีคราบน้ำทอง(สีเหลืองเหลือบทอง คล้ายผิวพระพุทธชินราชรุ่นอินโดจีน)ชนิดนี้ค่านิยมจะเป็นรองผิวพรายเงิน
๓. ชนิดผิวรมดำ ชนิดนี้ผิวองค์พระจะปรากฏน้ำยารมดำคลุมและผิวพระส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเรียบตึงจะเห็นเป็นรอยย่นซึ่งรอยเหล่านี้เกิดจากการที่ช่างนำพระที่เทหล่อเสร็จแล้วไปผ่านกระบวนการกัดน้ำยาเพื่อรมดำ(อย่างที่กล่าวข้างต้นน้ำยารมดำจะไม่จับผิวพระเนื้อทองเหลือง) รูปหล่อชนิดนี้ค่านิยมจะถูกกว่า ๒ ชนิดข้างต้นและวรรณะ(เนื้อ)จะเหลืองปนเขียวแต่ถ้าเป็น ๒ แบบข้างต้นเนื้อจะเหลืองปนขาวกว่า ชนิดผิวรมดำ ชนิดนี้ผิวองค์พระจะปรากฏน้ำยารมดำคลุมและผิวพระส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเรียบตึงจะเห็นเป็นรอยย่นซึ่งรอยเหล่านี้เกิดจากการที่ช่างนำพระที่เทหล่อเสร็จแล้วไปผ่านกระบวนการกัดน้ำยาเพื่อรมดำ(อย่างที่กล่าวข้างต้นน้ำยารมดำจะไม่จับผิวพระเนื้อทองเหลือง) รูปหล่อชนิดนี้ค่านิยมจะถูกกว่า ๒ ชนิดข้างต้น
สรุปรูปหล่อหลวงพ่อเดิมวัดหนองหลวงจุดพิจารณาให้ยึดพิมพ์ให้แม่น จำวิธีการสร้างคือดูพระหล่อ-พระปั๊ม-พระฉีดให้แยกได้ เข้าใจธรรมชาติคือความเก่าความซีดความแห้งของพระตลอดจนรายละเอียดปลีกย่อยเช่นรอยเหล็กจาร การแต่งตะไบให้ได้ จะประสพความสำเร็จ ส่วนจำนวนการสร้างทั้งสองแบบพิมพ์ไม่มีการบันทึกไว้ว่าสร้างเท่าไหร่เพียงแต่คาดเดาว่าทั้งสองแบบพิมพ์ไม่น่าเกิน ๒-๓พันองค์ ประการหนึ่งแบบพิมพ์ฐานเตี้ยชนิดที่ผ่านการรมน้ำยาดำผิวพระจะมีความตึงไม่เหมือนพระพิมพ์ฐานสูงชนิดรมดำที่ผิวพระส่วนใหญ่จะไม่เรียบตึง เพราะพิมพ์ฐานเตี้ยไม่ผ่านการกัดน้ำยา และส่วนตัวของผู้เขียนเองก็มีความเชื่อโน้มเอียงว่า รูปหล่อพิมพ์ฐานเตี้ยน่าจะสร้างก่อนพิมพ์ฐานสูงเพราะงานหล่อความสวยงามตลอดจนความเรียบร้อยสู้พิมพ์ฐานสูงไม่ได้และจำนวนการสร้างเมื่อเทียบเคียงพบเห็นน้อยกว่าพิมพ์ฐานสูงมากและนี่คือข้อมูลที่ผู้เขียนศึกษาค้นคว้านำเสนอ และถ้าท่านสมาชิกมีข้อมูลอื่นใดที่ชี้แนะติชม ผู้เขียนก็ยินดีรับไว้เพื่อประเทืองปัญญา
ขอบคุณที่มา / เครดิต... www.facebook.com/jtaweesub
ราคาปัจจุบัน
091 0657798
จำนวนผู้เข้าชม
33491 ครั้ง
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
naput
ชื่อร้าน
ตรีนิสิงห์ พระเครื่อง
URL
http://www.trinising.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0889747991
ID LINE
0889747991
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 376-2-27954-0
2. ธนาคารกสิกรไทย / 037-3-86656-3
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี